เขียนเมื่อ 12 ธค 62
ความจริงเมื่อ 130 ปีก่อน ใครคือผู้ค้นพบ EKG ของมนุษย์เป็นคนแรก "Waller" หรือ "Einthoven"? และทำไมถึงเลือกตัวอักษร "P" ไม่ใช่ "A" เป็น initial alphabet ใน EKG
- The Mystery Unfolded -
หมอหนุ่มและนักฟิสิกส์อัจฉร ิยะอายุ 27 ปี "Willem Einthoven" เดินทางด้วยรถจักรไอน้ำจากเ นเธอร์แลนด์ ข้ามเรือจาก Calais มา Dover เพื่อชมการบันทึกคลื่นไฟฟ้า หัวใจครั้งแรกของโลกโดย อาจารย์นักสรีรวิทยาหนุ่มชา วอังกฤษอายุแค่ 31 ปี "Augustus Desire ́ Waller" ที่ St. Mary Hospital ใน Westminster กลางกรุงลอนดอน ปี 1887 นี่เป็นครั้งแรกที่ทั้งคู่พ บกัน และ ทุกอย่างเริ่มต้นขึ้นที่นี่
การค้นพบ fiber ที่เชื่อมการนำไฟฟ้าจาก AV node มายัง Ventricle ของ Johann Evangelist Purkinje ในปี 1839 [1] ประกอบกับการพิสูจน์ให้เห็น เป็นครั้งแรกโดย Theodor Wilhelm Engelmann ในปี 1875 ว่ามีกระแสไฟฟ้าวิ่งผ่านจาก Purkinje fiber ในชั้น endocardium ส่งต่อสู่ myocyte และต่อ myocyte ไปเรื่อยๆ ด้วยตัวของมันเองโดยไม่ขึ้น กับ external neural stimuli และมีลักษณะเป็นคลื่น [2]
ทำให้ Augustus Desire ́ Waller คิดถึงความเป็นไปได้ที่จะบั นทึกคลื่นไฟฟ้าในหัวใจมนุษย ์ลงบนกระดาษ โดยใช้อุปกรณ์ของ Gabriel Lippmann ที่สร้างไว้ในปี 1873 อาศัยการหดตัวและขยายตัวของ ปรอทในกรดซัลฟิวริกเมื่อมีก ารเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ ไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุด Lippmann เอาปรอทใส่ท่อเล็กๆเรียกว่า capillary จุ่มลงใน dilute sulfuric acid ในแนวตั้ง การขยับขึ้นลงของปรอท ต่อกับเข็มเพื่อขีดบันทึกลง บนกระดาษ มันคือ "Lippmann Capillary Electrometer"
ด้วยความไวต่อความต่างศักย์ ต่ำที่สุดที่ 1/ 40000 V ของเครื่อง พอมีความเป็นไปได้ที่จะจับความ ต่างศักย์ไฟฟ้าเล็กๆในของหั วใจมนุษย์
เดือนพฤศภาคมปี 1887 ตอนนั้น Waller อายุเพียงแค่ 31 ปี ได้เชิญนักวิทยาศาสตร์ทั่วย ุโรปมาชมสาธิตการบันทึกคลื่ นไฟฟ้าหัวใจในมนุษย์ครั้งแร กของโลกที่ St. Mary Hospital ใน City of Westminster ใจกลางกรุง London เป็น 2 ปีก่อนกำเนิดการประชุมวิชาก าร The First International Physiological Congress การสาธิตจึงยังต้องเป็นจดหม ายเชิญมาชมที่สถาบัน Willem Einthoven หมอหนุ่มและนักฟิสิกส์อายุ 27 ปีจาก University of Leiden เพิ่งจบแพทย์จาก University of Utrecht ได้แค่ 2 ปี เดินทางจากเนเธอแลนด์มาชมกา รสาธิตครั้งนี้ด้วย
Waller สามารถบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใ จด้วย Lippmann Capillary Electrometer ได้สำเร็จ ประกอบด้วยสองคลื่นใน 1 cardiac cycle และมาจาก Ventricle ทั้งหมด ทำให้ Waller กำหนดตัวอักษร "𝒱1" และ "𝒱2" แทนชื่อคลื่นทั้งสองอันนั้น และเรียกชื่อว่า "Electrogram"[3]
ชื่อแรกของคลื่นไฟฟ้าหัวใจค ือ "Electrogram"
Einthoven ชื่นชมในผลงานของ Waller มาก แต่เค้าคิดว่ามีความผิดพลาด อยู่ในอุปกรณ์ที่ทำให้ไม่สา มารถพบคลื่นไฟฟ้าจากหัวใจห้ องบน การตอบสนองที่ช้าจากแรงเฉื่ อยของปรอท ประกอบกับ oversensitivity ของเข็มที่ต่อกับเครื่อง ทำให้ไม่สามารถจับ high frequency potentials ได้
Einthoven กลับไปที่ Leiden และขอเปิดห้องทดลองเพื่อพัฒ นาขีดความสามารถของ Capillary Electrometer โดยปรับการทำงานของปรอทใน Capillary ใหม่ทั้งหมดและใช้วิธีทางคณ ิตศาสตร์ชดเชยแรงเฉื่อยของป รอท Einthoven ได้คลื่นไฟฟ้าสองคลื่นจาก Ventricle ที่ชัดเจนกว่าของ Waller ด้วยที่มาที่มาจากวิธีทางคณ ิตศาสตร์ Einthoven ตั้งชื่อสองคลื่นนี้ของเค้า ว่า "A" และ "B"
แต่ Waller ไม่เห็นด้วย ยังคงให้ใช้ชื่อ 𝒱1 และ 𝒱2 เหมือนเดิม
Einthoven พัฒนา Electrometer ต่อจนในที่สุดสามารถจับคลื่ นไฟฟ้าหัวใจจาก Atrium ได้สำเร็จ แต่เนื่องจาก Einthoven เลือกใช้อักษรแรก "A" ไปแล้ว จึงตัดสินใจเลือกใช้ตัวอักษ ร "P" เป็นชื่อของคลื่นไฟฟ้าที่มา จาก Atrium
คลื่นไฟฟ้าหัวใจครั้งแรกสุด ของมนุษย์ที่ครบมาจากทั้งบน และล่างจึงเป็น "𝓟-A-B"
เนื่องจากนี่เป็นสิ่งเดียวท ี่ Einthoven ไม่ได้เขียนบอกไว้ว่าเพราะอ ะไรถึงเลือกอักษร "P" มีสองสมมุติฐานจากคำบอกกล่า วของเพื่อนร่วมงานที่ Leiden
1) Einthoven ไม่แน่ใจว่าในอนาคต จะเจอคลื่นหัวใจที่อยู่ก่อน หน้านี้อีกรึเปล่า จึงเลือกตัวอักษรที่อยู่ตรง กลางในภาษาอังกฤษเลือกเป็น P ทิ้งเผื่อเอาไว้ ตามด้วย A กับ B ที่กำหนดไว้ก่อนในตอนแรก (ข้อมูลจากบันทึกของ H.A. Snellen ซึ่งเป็น official biographer ของ Einthoven)
2) หลายความเห็นไม่เชื่อเพราะ ตัวอักษรที่อยู่ตรงกลางจริง ๆในภาษาอังกฤษไม่มี เพราะมี 26 ตัวอักษรซึ่งเป็นเลขคู่ ตรงกลางจริงจะอยู่ระหว่างตั วอักษรที่ 13 กับ 14 นั่นก็คือ M กับ N ซึ่งก็ไม่ใช่ P อยู่ดี หลายความเห็นเชื่อว่า Einthoven เลือก P ที่มาจากชื่อจุดกำหนดแรกของ Curve ใน Descartes Geometry ที่เป็น P เพราะเป็นอักษรตัวแรกที่ถัด จาก O เนื่องจาก Descartes กำหนดให้ O แทนคำว่า Origin จุดกลางที่แกนมาตัดกัน, René Descartes เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเ ศสในศตวรรษที่ 17 เป็นคนที่เอา Algebra มาอธิบาย Geometry เป็นคนแรก ต้นกำเนิดของ Analytical Geometry ในปัจจุบัน
กลับมาที่ชื่อ Waller ไม่เห็นด้วยกับ "P" ที่ Einthoven ตั้ง ให้เรียกคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ มาจากห้องบนเป็น "A" ชื่อหน้าของ Atrium ตามด้วย 𝒱1 และ 𝒱2 ที่เค้าตั้งไว้เหมือนเดิม
เครื่อง Capillary Electrometer ตัวสุดท้ายที่ Einthoven พัฒนา สามารถจับสัญญาณได้ 4 สัญญาณ คือ Atrium 1, Ventricle 3 (Depolarization 2, Repolarization 1)
Einthoven ตัดสินใจลบตัวอักษร P ออก และใช้ A B C D เรียงกันไปเลย
Einthoven เชื่อว่าปรอทมีข้อจำกัดต่อใ ห้ตัวเค้าเองจะพัฒนามันไปมา กแค่ไหนก็ตาม
คลื่นไฟฟ้าหัวใจของมนุษย์จร ิงๆหน้าตาไม่ใช่แบบนี้ และเราจะไม่สามารถใช้มันตรว จความผิดปกติของหัวใจคนไข้ไ ด้ Einthoven ใช้วิธีทางคณิตศาสตร์ชั้นสู ง แก้ไขหน้าตาของ A B C D ออกมา ปรากฎว่า มี 5 ไม่ใช่ 4! เป็นเหมือนคำพยากรณ์ล่วงหน้ าจาก Einthoven ว่าหากมีอุกกรณ์จับสัญญาณที ่ดีกว่านี้ในอนาคต เราจะเห็นหน้าตาคลื่นหัวใจเ ป็นแบบนี้ เพื่อให้ annotation แตกต่างจาก A B C D ในตอนแรก Einthoven เอาตัวอักษร P กลับมาตามความตั้งใจเดิม และกำกับชื่อทั้ง 5 เป็น P Q R S T ตีพิมพ์ในเดือนมีนาคมปี 1895 ห้าปีก่อนเปลี่ยนศตวรรษใหม่ [4]
และนั่นคือหลักฐานชิ้นเดียว ที่พิสูจน์ว่า คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่แท้จริงข องมนุษย์ถูกค้นพบในศตวรรษที ่ 19 ไม่ใช่ 20
ด้วยการที่ P Q R S T เป็นชื่อ sucessive points ใน Analytical Geometry ของ Descartes ก็ยิ่งทำให้สมมุติฐานที่ว่า Einthoven เลือกตั้งชื่อพวกมันตาม Descartes scheme มีความเป็นไปได้สูงมากขึ้น
Einthoven เรียกชื่อคลื่นไฟฟ้าหัวใจทั ้ง 5 ว่า "Elektrokardiogramm" โดยยกย่องให้ Waller เป็นคนแรกที่บันทึกคลื่นไฟฟ ้าหัวใจได้สำเร็จ
ไม่กี่ปีต่อมา Einthoven สร้างเครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ ้าหัวใจที่ข้ามขีดจำกัดของ Capillary Electrometer ได้สำเร็จด้วยการใช้ quartz filament บางเพียง 3 ไมครอน เคลือบด้วยโลหะเงินในสนามแม ่เหล็ก การเปลี่ยนแปลงความต่างศักย ์วัดจากการเคลื่อนไหวของ filament ทำให้ได้สัญญาณความละเอียดส ูงมาก อุปกรณ์ที่ Einthoven สร้างขึ้นชิ้นนี้ชื่อว่า "String Galvanometer"
สุดท้าย P Q R S T ก็ถูกบันทึกได้จริงๆตรงตามท ี่ Einthoven เคยคำนวณด้วยสมการคณิตศาสตร ์ ผ่านเครื่อง String Galvanometer และตีพิมพ์ในปี 1903 [5]
เป็น historic publication ของการบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใ จอย่างสมบูรณ์แบบด้วยเครื่อ ง String Galvanometer ที่ถูก cite ใน textbook และ articles มากมายในเวลาต่อมาจนถึงปัจจ ุบัน
แต่ความจริง บันทึกแรกของ Einthoven เกิดขึ้นหนึ่งปีก่อนหน้านั้ น ในปี 1902 Einthoven ได้เขียนบันทึกลับหลังบันทึ กคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้สำเร็จล งใน Festschrift Book อุทิศให้กับ Professor Rosenstein ปัจจุบันบันทึกฉบับนี้ถูกเก ็บไว้ใน Boerhaave Museum ที่ Leiden [6]
สุดท้าย สิ่งที่ Wenckebach เคยอธิบายจากการจับชีพจรคนไ ข้ก็สามารถถูกบันทึกได้เป็น คลื่นไฟฟ้าจากหัวใจห้องบนแล ะล่าง Einthoven ใช้เครื่อง String Galvanometer ของเค้า บรรยาย pattern ของ LVH, RVH, P mitrale, ventricular extrasystoles, bigeminy และ complete heart block ตีพิมพ์เป็น Clinical Appication ของ EKG ครั้งแรกของโลกในปี 1908 [7]
Thomas Lewis ลูกศิษย์ของ Einthoven ที่ University College Hospital ใน London สานต่อการทำงานโดยบรรยาย Arrhythmia มากมายหลายชนิดที่ตรวจได้จา ก String Galvanometer และ Atrial Fibrillation เองก็ถูกบันทึกได้ครั้งแรกโ ดย Lewis
Einthoven รักลูกศิษย์คนนี้มาก ตอนสุดท้ายของ Nobel Lecture ไม่กี่ปีก่อนที่เค้าจะเสียช ีวิต, Einthoven พูดถึง Lewis ว่า
“It is his conviction that the general interest in the ECG would certainly not be so high nowadays if we had to do without his work, and I doubt whether without his valuable contribution I should have the privilege of standing before you today”
เวลาผ่านไป 100 ปี ความพยายามของ Einthoven ช่วยชีวิตคนไข้โรคหัวใจมากม ายมหาศาล ในปี 2020 เรากำลังจะมีเทคโนโลยีที่สา มารถเห็นทิศทางการเคลื่อนที ่ของไฟฟ้าหลายพันจุดในห้องห ัวใจได้อย่างอิสระเป็นครั้ง แรก เพื่อตรวจพบและอธิบายความผิ ดปกติของการนำไฟฟ้าที่ซับซ้ อนในห้องหัวใจ
แต่ไม่อาจเทียบได้เลยกับสิ่ งที่ Einthoven สร้างเอาไว้ให้พวกเราในบริบ ทที่จำกัดอย่างเมื่อร้อยกว่ าปีก่อน
References
1. The specialized fibers in the heart that conduct electrical impulses (Purkinje fibers). The Yearbook of the Faculty of Medicine at the Jagiellonian University. 1839
2. Engelmann TW. Ueber die Leitung der Erregung im Herzmuskel. Pflügers Arch 11: 465–480, 1875.
3. Waller AD. A demonstration on man of electromotive changes accompanying the heart’s beat. J Physiol. 1887 Oct;8(5):229-34.
4. Ueber die Form des menschlichen Electrocardiogramms. Archiv für die gesamte Physiologie des Menschen und der Tiere volume 60, 101–123(1895).
5. Einthoven W. Die galvanometrische Registerung des menschlichenElektrokardiog ram:ZugleicheineBeurtheilu ng derAnwendungdesCapillarEle ktrometersinderPhysiologie .Pflu ̈gersArchgesPhysiol1903;99 :472–480.
6. Einthoven W. Galvanometrische registratie van het menschelijk electrocardiogram. In: Herinneringsbundel SS ed.
Elektrocardiogrammunddieca pilla ̈relektrometrischeUntersuc hungeinigerHerzkranken.Pfl u ̈gersArchgesPhysiol 1900;80:139–160.
7. EinthovenW,VaandragerB.Wei teresu ̈berdasElektrokar- diogramm.Pflu ̈egersArchgesPhysiol 1908;122:517–584.
Wipat
ความจริงเมื่อ 130 ปีก่อน ใครคือผู้ค้นพบ EKG ของมนุษย์เป็นคนแรก "Waller" หรือ "Einthoven"? และทำไมถึงเลือกตัวอักษร "P" ไม่ใช่ "A" เป็น initial alphabet ใน EKG
- The Mystery Unfolded -
หมอหนุ่มและนักฟิสิกส์อัจฉร
การค้นพบ fiber ที่เชื่อมการนำไฟฟ้าจาก AV node มายัง Ventricle ของ Johann Evangelist Purkinje ในปี 1839 [1] ประกอบกับการพิสูจน์ให้เห็น
ทำให้ Augustus Desire ́ Waller คิดถึงความเป็นไปได้ที่จะบั
ด้วยความไวต่อความต่างศักย์
เดือนพฤศภาคมปี 1887 ตอนนั้น Waller อายุเพียงแค่ 31 ปี ได้เชิญนักวิทยาศาสตร์ทั่วย
Waller สามารถบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใ
ชื่อแรกของคลื่นไฟฟ้าหัวใจค
Einthoven ชื่นชมในผลงานของ Waller มาก แต่เค้าคิดว่ามีความผิดพลาด
Einthoven กลับไปที่ Leiden และขอเปิดห้องทดลองเพื่อพัฒ
แต่ Waller ไม่เห็นด้วย ยังคงให้ใช้ชื่อ 𝒱1 และ 𝒱2 เหมือนเดิม
Einthoven พัฒนา Electrometer ต่อจนในที่สุดสามารถจับคลื่
คลื่นไฟฟ้าหัวใจครั้งแรกสุด
เนื่องจากนี่เป็นสิ่งเดียวท
1) Einthoven ไม่แน่ใจว่าในอนาคต จะเจอคลื่นหัวใจที่อยู่ก่อน
2) หลายความเห็นไม่เชื่อเพราะ ตัวอักษรที่อยู่ตรงกลางจริง
กลับมาที่ชื่อ Waller ไม่เห็นด้วยกับ "P" ที่ Einthoven ตั้ง ให้เรียกคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่
เครื่อง Capillary Electrometer ตัวสุดท้ายที่ Einthoven พัฒนา สามารถจับสัญญาณได้ 4 สัญญาณ คือ Atrium 1, Ventricle 3 (Depolarization 2, Repolarization 1)
Einthoven ตัดสินใจลบตัวอักษร P ออก และใช้ A B C D เรียงกันไปเลย
Einthoven เชื่อว่าปรอทมีข้อจำกัดต่อใ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจของมนุษย์จร
และนั่นคือหลักฐานชิ้นเดียว
ด้วยการที่ P Q R S T เป็นชื่อ sucessive points ใน Analytical Geometry ของ Descartes ก็ยิ่งทำให้สมมุติฐานที่ว่า
Einthoven เรียกชื่อคลื่นไฟฟ้าหัวใจทั
ไม่กี่ปีต่อมา Einthoven สร้างเครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ
สุดท้าย P Q R S T ก็ถูกบันทึกได้จริงๆตรงตามท
เป็น historic publication ของการบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใ
แต่ความจริง บันทึกแรกของ Einthoven เกิดขึ้นหนึ่งปีก่อนหน้านั้
สุดท้าย สิ่งที่ Wenckebach เคยอธิบายจากการจับชีพจรคนไ
Thomas Lewis ลูกศิษย์ของ Einthoven ที่ University College Hospital ใน London สานต่อการทำงานโดยบรรยาย Arrhythmia มากมายหลายชนิดที่ตรวจได้จา
Einthoven รักลูกศิษย์คนนี้มาก ตอนสุดท้ายของ Nobel Lecture ไม่กี่ปีก่อนที่เค้าจะเสียช
“It is his conviction that the general interest in the ECG would certainly not be so high nowadays if we had to do without his work, and I doubt whether without his valuable contribution I should have the privilege of standing before you today”
เวลาผ่านไป 100 ปี ความพยายามของ Einthoven ช่วยชีวิตคนไข้โรคหัวใจมากม
แต่ไม่อาจเทียบได้เลยกับสิ่
References
1. The specialized fibers in the heart that conduct electrical impulses (Purkinje fibers). The Yearbook of the Faculty of Medicine at the Jagiellonian University. 1839
2. Engelmann TW. Ueber die Leitung der Erregung im Herzmuskel. Pflügers Arch 11: 465–480, 1875.
3. Waller AD. A demonstration on man of electromotive changes accompanying the heart’s beat. J Physiol. 1887 Oct;8(5):229-34.
4. Ueber die Form des menschlichen Electrocardiogramms. Archiv für die gesamte Physiologie des Menschen und der Tiere volume 60, 101–123(1895).
5. Einthoven W. Die galvanometrische Registerung des menschlichenElektrokardiog
6. Einthoven W. Galvanometrische registratie van het menschelijk electrocardiogram. In: Herinneringsbundel SS ed.
Elektrocardiogrammunddieca
7. EinthovenW,VaandragerB.Wei
Wipat
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น